เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) ได้จัดการประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษาและพัฒนากำลังคนขั้นสูง (Reinventing University) ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารสถาบันจัดการงานสร้างสรรค์นวัตกรรมและเทคโนโลยี มทร.ล้านนา (ห้วยแก้ว) โดยมี อาจารย์ศรีธร อุปคำ รองผู้อำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ฝ่ายยุทธศาสตร์การนำไปใช้ประโยชน์ เป็นประธานกล่าวเปิดงาน พร้อมด้วยหัวหน้าโครงการและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมเพื่... >> อ่านต่อ
คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (เชียงใหม่) ขอแสดงความยินดีต่อคณาจารย์ที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ประจำปี 2568 ภายใต้กิจกรรมส่งเสริมการนำองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและบริการชุมชน โดยมีคณาจารย์ที่ได้รับทุนสนับสนุนในครั้งนี้ ได้แก่ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ 1. ดร.ภาสินี ศิริประภา >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2568 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยคลินิกเทคโนโลยี และสถาบันเครือข่าย ได้แก่ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จัดกิจกรรม “OTOP สัญจร” พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2568 สร้างความรู้ความเข้าใจในการยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (OTOP สัญจร) ณ โรงแรมคุ้มภ... >> อ่านต่อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) แสดงศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อชุมชนผ่านการจัดนิทรรศการในงานฤดูหนาวและงาน OTOP ของดีเมืองเชียงใหม่ ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 5-19 มกราคม พ.ศ. 2568 ณ บริเวณสนามด้านหลังศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ โดยความร่วมมือของบุคลากรสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนและกองพัฒนาอาคารสถานที่ในการออกแบบและจัดโครงสร้างบูธนิทรรศการให้โดดเด่นในโซนส่วนราชการ ในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2568 อาจารย์อัคค์สัจจา ดวงสุภาสิญจ์ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัม... >> อ่านต่อ
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยความร่วมมือของ ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และทีมงาน สกร.อำเภอพร้าว ได้พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกและใช้ประโยชน์จากต้นห้อมของชนเผ่าลาหู่ซีในพื้นที่บ้านขอนม่วง ตำบลป่าไหน่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เนื้อหาวีดิทัศน์นำเสนอความสำคัญของต้นห้อมในฐานะ Soft Power ที่ช่วยสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ผ่านงานหัตถกรรมที่ผสมผสานอัตลักษณ์พื้นบ้าน เช่น การทอผ้าฝ้ายย้อมสีห้อม การออกแบบผล... >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา