คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (เชียงใหม่) ขอแสดงความยินดีต่อคณาจารย์ที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ประจำปี 2568 ภายใต้กิจกรรมส่งเสริมการนำองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและบริการชุมชน โดยมีคณาจารย์ที่ได้รับทุนสนับสนุนในครั้งนี้ ได้แก่ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ 1. ดร.ภาสินี ศิริประภา >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2568 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยคลินิกเทคโนโลยี และสถาบันเครือข่าย ได้แก่ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จัดกิจกรรม “OTOP สัญจร” พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2568 สร้างความรู้ความเข้าใจในการยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (OTOP สัญจร) ณ โรงแรมคุ้มภ... >> อ่านต่อ
คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มทร.ล้านนา )และหน่วยงานพันธมิตร จัดกิจกรรมการนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (Pitching) ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดเชียงใหม่ การจัดงานครั้งนี้ได้รับเกียรติจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ประกอบด้วย นางสุวิมล อินทะแสน นายสุกขี แสนสุภา นายชยากร สินธุสัย นางสาวมณฑา ไก่หิรัญ และนางสาวกนกวรรณ วงศ์คม โดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ดร.ธนาวุธ ตรีเดช ผู้อำนวยก... >> อ่านต่อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประกาศผลการคัดเลือกข้อเสนอโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่นประจำปี พ.ศ. 2568 โดยมีทีมที่ผ่านการคัดเลือกทั้งสิ้น 5 ทีม ได้แก่ 1. โครงการอนุรักษ์ผ้าทอกี่เอวสีธรรมชาติกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโพล่ง: การบูรณาการสื่อสร้างสรรค์และ ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัยเพื่อส่งเสริมการตลาดและความยั่งยืนของวิสาหกิจชุมชนบ้านแม่ขนาด อำเภอแม่ทา จ.ลำพูน ทีม Vision Makers กลุ่ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้ากะเหรี่ยงแม่ขนาด หัวห... >> อ่านต่อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) แสดงศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อชุมชนผ่านการจัดนิทรรศการในงานฤดูหนาวและงาน OTOP ของดีเมืองเชียงใหม่ ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 5-19 มกราคม พ.ศ. 2568 ณ บริเวณสนามด้านหลังศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ โดยความร่วมมือของบุคลากรสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนและกองพัฒนาอาคารสถานที่ในการออกแบบและจัดโครงสร้างบูธนิทรรศการให้โดดเด่นในโซนส่วนราชการ ในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2568 อาจารย์อัคค์สัจจา ดวงสุภาสิญจ์ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัม... >> อ่านต่อ
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยความร่วมมือของ ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และทีมงาน สกร.อำเภอพร้าว ได้พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกและใช้ประโยชน์จากต้นห้อมของชนเผ่าลาหู่ซีในพื้นที่บ้านขอนม่วง ตำบลป่าไหน่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เนื้อหาวีดิทัศน์นำเสนอความสำคัญของต้นห้อมในฐานะ Soft Power ที่ช่วยสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ผ่านงานหัตถกรรมที่ผสมผสานอัตลักษณ์พื้นบ้าน เช่น การทอผ้าฝ้ายย้อมสีห้อม การออกแบบผล... >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2567 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) ประจำปี 2567 นำโดย ด้วย คุณณิศากร บุญสงค์ หน่วยพัฒนาสังคมและชุมชน ธนาคารออมสินภาค 8 พร้อมด้วย อาจารย์ศรีธร อุปคํา รองผู้อำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ฝ่ายยุทธศาสตร์การนำไปใช้ประโยชน์ มทร.ล้านนา ลงพื้นที่ติดตามผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์แบรนด์ปรุงนา (น้ำจิ้มปูหวานอบแห้ง) ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลเขื่อนผาก อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โครงการนี้... >> อ่านต่อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) ร่วมกับศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองเขียว จัดโครงการอบรมการทำมุ้งลวดให้แก่ชาวบ้านและเยาวชนบนพื้นที่สูง ระหว่างวันที่ 2-4 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ โรงเรียนบ้านหนองเขียว ตำบลเมืองนะ จังหวัดเชียงใหม่ คณะทำงานประกอบด้วยบุคลากรจากสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนและกลุ่มแผงงานใต้ร่มพระบารมี มทร.ล้านนา ได้แก่ อาจารย์เมธัส ภัททิยธนี นายวธัญญู วรรณพรหม นายศราวุธ วรรณวิจิตร และนายวัชระ กิตติวรเชฏษ์ ร่วมเป็นวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในการฝึกอบรม มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกร... >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2567 กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU มทร.ล้านนา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ร้อยโทสุรพิน พรมแดน พร้อมคณะ ได้เข้าร่วมสังเกตุการณ์ ร่วมกับคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์วรสันติ์ โสภณ รองผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ นางสาวปอชญา ชุมสุวรรณ นักวิเคราะห์ความร่วมมืออุตสาหกรรม อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการตรวจติดตามผลการดำเนินงานโครงการ Talent Mobility ภายใต้โครงการการเคลื่อนย้ายบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในภาคอุตสาหกรรม (Talent ... >> อ่านต่อ
สวัสดีครับ วันนี้ พี่ TechTalk ขอแนะนำ Google Calendar ผู้ช่วยมือโปรในการจัดตารางเวลาให้กับเรา สามารถกำหนดกิจกรรมที่จะทำลงไปได้ทำให้เราได้เห็นอย่างชัดเจน เปลี่ยนแปลงข้อมูล ใส่สีสันได้ตามใจเราเพื่อบ่งบอกถึงความเป็นตัวของคุณ -- คุยเฟื่องเรื่องเทคโนโลยีกับ สถช. การจัดการเกี่ยวกับปฏิทินกิจกรรมของผู้บริหาร เป็นการบริหารเวลาการปฏิบัิตประจำวันของผู้บริหารแต่ละคนในองค์กร/หน่วยงาน ที่ครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องทำประจำวัน การประชุม การนัดหมายกับบุคคลสำ... >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา